MAIN MENU

>

BOOK DETAIL

คู่มือวิศวกรรมฐานราก 
ประเภททรัพยากร
: E-Books

"คู่มือวิศวกรรมฐานราก" เล่มนี้ ปูพื้นตั้งแต่คุณสมบัติทางธรณีเทคนิคของดิน การสำรวจชั้นดินภาคสนาม น้ำใต้ดิน ฐานรากชนิดต่างๆ กำแพงกันดิน เข็มพืด การค้ำยัน เสถียรภาพของลาดดิน การปรับปรุงคุณภาพดิน การก่อสร้างอุโมงค์ การประเมินความเสียหาย ธรณีเทคนิคเพื่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะเริ่มมีความสำคัญมากขึ้น รวมทั้งภาคผนวกที่สามารถจะใช้ในงานออกแบบ หรือใช้ในงานสนาม พร้อมด้วยตัวอย่างตารางคำนวณที่สะดวกในการนำไปใช้ได้ง่ายและเร็ว ถ่ายทอดจากประสบการณ์การทำงานตลอดระยะเวลาเกือบ 10 ปีของผู้เขียน ผนวกกับการสังเคราะห์ความรู้ที่ทันสมัย อีกทั้งได้สอดแทรกตัวอย่างปัญหาที่ประสบจริงจากการทำงาน เพื่อให้ผู้อ่านสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ครบถ้วนด้วยเนื้อหาทางวิชาการและวิชาชีพ เหมาะสำหรับวิศวกรโยธาที่จะนำไปใช้ประกอบวิชาชีพทั้งงานออกแบบและงานก่อสร้าง หรือนำไปใช้เสริมการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา นอกจากนี้ยังเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่เตรียมตัวสอบเป็นภาคีวิศวกรโยธาหรือเลื่อนระดับเป็นสามัญวิศวกรโยธา รวมถึงผู้ที่ต้องการทดสอบความรู้พื้นฐานด้านวิศวกรรมโยธาในต่างประเทศ เพื่อยกระดับวิชาชีพตนเองสู่สากลอีกด้วย

วันที่พิมพ์
: Dec 21, 2020
สำนักพิมพ์
: ซีเอ็ดยูเคชั่น
หมวดหมู่
จำนวนหน้า
: 792
ความนิยม
:
จำนวนให้บริการ
2 / 2 เล่ม
MARC Information
020 a : ISBN 
9786160821983 
245 a : Title 
คู่มือวิศวกรรมฐานราก 
260 c : Date of publication 
 
260 b : Name of publisher 
ซีเอ็ดยูเคชั่น 
300 a : Total pages 
792 
520 a : Description 
"คู่มือวิศวกรรมฐานราก" เล่มนี้ ปูพื้นตั้งแต่คุณสมบัติทางธรณีเทคนิคของดิน การสำรวจชั้นดินภาคสนาม น้ำใต้ดิน ฐานรากชนิดต่างๆ กำแพงกันดิน เข็มพืด การค้ำยัน เสถียรภาพของลาดดิน การปรับปรุงคุณภาพดิน การก่อสร้างอุโมงค์ การประเมินความเสียหาย ธรณีเทคนิคเพื่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะเริ่มมีความสำคัญมากขึ้น รวมทั้งภาคผนวกที่สามารถจะใช้ในงานออกแบบ หรือใช้ในงานสนาม พร้อมด้วยตัวอย่างตารางคำนวณที่สะดวกในการนำไปใช้ได้ง่ายและเร็ว ถ่ายทอดจากประสบการณ์การทำงานตลอดระยะเวลาเกือบ 10 ปีของผู้เขียน ผนวกกับการสังเคราะห์ความรู้ที่ทันสมัย อีกทั้งได้สอดแทรกตัวอย่างปัญหาที่ประสบจริงจากการทำงาน เพื่อให้ผู้อ่านสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ครบถ้วนด้วยเนื้อหาทางวิชาการและวิชาชีพ เหมาะสำหรับวิศวกรโยธาที่จะนำไปใช้ประกอบวิชาชีพทั้งงานออกแบบและงานก่อสร้าง หรือนำไปใช้เสริมการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา นอกจากนี้ยังเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่เตรียมตัวสอบเป็นภาคีวิศวกรโยธาหรือเลื่อนระดับเป็นสามัญวิศวกรโยธา รวมถึงผู้ที่ต้องการทดสอบความรู้พื้นฐานด้านวิศวกรรมโยธาในต่างประเทศ เพื่อยกระดับวิชาชีพตนเองสู่สากลอีกด้วย 
650 a : Subject 
 
ความคิดเห็นทั้งหมด
ยังไม่มีความคิดเห็น

กรุณาเข้าสู่ระบบก่อนร่วมแสดงความคิดเห็น