MAIN MENU

>

BOOK DETAIL

ตำรับยาล้านนา 
ประเภททรัพยากร
: E-Books

ตำรับยาล้านนาเป็นหนังสือที่รวบรวมจากประสบการณ์ การวิจัยการแพทย์พื้นบ้าน และจากการศึกษาต้นฉบับเอกสารโบราณ ได้แก่ พับสา ใบลาน นำมาแปล และให้ความหมายในเชิงประโยชน์ทางเภสัชกรรมปัจจุบันในบางเนื้อหาได้ดำเนินการสัมภาษณ์ลงพื้นที่วิจัยเพื่อสืบเสาะหาความหมายที่แพทย์พื้นบ้านใช้สอบถามความหมายในเอกสารโบราณ เนื้อหาประกอบด้วยความรู้เกี่ยวกับโรค ตำรับยาสมุนไพรที่ใช้ และวิธีปรุงยาในแต่ละโรคตำรับยาล้านนาเหมาะสมสำหรับผู้ที่สนใจ และผู้ที่ศึกษางานทางเภสัชกรรมพื้นบ้าน และผู้ที่จะทำการปริวรรตภาษาล้านนาให้เป็นภาษาไทยกลางที่ต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับตัวยาและการปรุงยาของล้านนาโดยเฉพาะผู้ปรุงยาหรือหมอยารุ่นใหม่เพื่อให้เข้าใจความหมาย และวิธีปรุงยาการตั้งตำรับยารักษาโรค ตามที่ระบุในเอกสารโบราณ และสามารถปรุงยาแผนโบราณ ตามหลักสากลได้อย่างถูกต้อง
การออกแบบการทดลองดังกล่าวมีส่วนในการกลั่นกรองปัจจัยที่สำคัญและการหาความเหมาะสมของปัจจัยสำคัญโดยใช้โปรแกรมคอมผิวเตอร์และประยุกต์ใช้เทคนิคโปรแกรมเชิงเส้นตรงในการวิเคราะห์เพื่อสร้างรูปแบบที่นำไปสู่การสร้างนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้การออกแบบการทดลองเพื่อพัฒนานวัตกรรมที่ได้ให้ความสนใจมักจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมากมายในธรรมชาติ การนำเทคนิคที่รวดเร็วเชิงระบบ EVOLUTIONARY OPERATION (EVOP) มาใช้เพื่อการตรวจสอบ
จึงเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมอาหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ

วันที่พิมพ์
: Mar 06, 2024
สำนักพิมพ์
: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
หมวดหมู่
จำนวนหน้า
: 224
ความนิยม
:
จำนวนให้บริการ
1 / 1 เล่ม
MARC Information
020 a : ISBN 
9786163989048 
245 a : Title 
ตำรับยาล้านนา 
260 b : Name of publisher 
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 
260 c : Date of publication 
 
300 a : Total pages 
224 
520 a : Description 
ตำรับยาล้านนาเป็นหนังสือที่รวบรวมจากประสบการณ์ การวิจัยการแพทย์พื้นบ้าน และจากการศึกษาต้นฉบับเอกสารโบราณ ได้แก่ พับสา ใบลาน นำมาแปล และให้ความหมายในเชิงประโยชน์ทางเภสัชกรรมปัจจุบันในบางเนื้อหาได้ดำเนินการสัมภาษณ์ลงพื้นที่วิจัยเพื่อสืบเสาะหาความหมายที่แพทย์พื้นบ้านใช้สอบถามความหมายในเอกสารโบราณ เนื้อหาประกอบด้วยความรู้เกี่ยวกับโรค ตำรับยาสมุนไพรที่ใช้ และวิธีปรุงยาในแต่ละโรคตำรับยาล้านนาเหมาะสมสำหรับผู้ที่สนใจ และผู้ที่ศึกษางานทางเภสัชกรรมพื้นบ้าน และผู้ที่จะทำการปริวรรตภาษาล้านนาให้เป็นภาษาไทยกลางที่ต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับตัวยาและการปรุงยาของล้านนาโดยเฉพาะผู้ปรุงยาหรือหมอยารุ่นใหม่เพื่อให้เข้าใจความหมาย และวิธีปรุงยาการตั้งตำรับยารักษาโรค ตามที่ระบุในเอกสารโบราณ และสามารถปรุงยาแผนโบราณ ตามหลักสากลได้อย่างถูกต้อง การออกแบบการทดลองดังกล่าวมีส่วนในการกลั่นกรองปัจจัยที่สำคัญและการหาความเหมาะสมของปัจจัยสำคัญโดยใช้โปรแกรมคอมผิวเตอร์และประยุกต์ใช้เทคนิคโปรแกรมเชิงเส้นตรงในการวิเคราะห์เพื่อสร้างรูปแบบที่นำไปสู่การสร้างนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้การออกแบบการทดลองเพื่อพัฒนานวัตกรรมที่ได้ให้ความสนใจมักจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมากมายในธรรมชาติ การนำเทคนิคที่รวดเร็วเชิงระบบ EVOLUTIONARY OPERATION (EVOP) มาใช้เพื่อการตรวจสอบ จึงเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมอาหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
650 a : Subject 
 
ความคิดเห็นทั้งหมด
ยังไม่มีความคิดเห็น

กรุณาเข้าสู่ระบบก่อนร่วมแสดงความคิดเห็น